ผลงานอาจารย์

อาจารย์

ผลงาน

ที่

ชื่อ/ฉายา/นามสกุล

วุฒิการศึกษา/สาขาวิชา
(.เอก/.โท/.ตรี)

ตำแหน่งทางวิชาการ

สาขาตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาที่เปิดสอน

พระครูสิริสุตานุยุต, รศ.ดร.

พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
กศ.ม. (บริหารการศึกษา)
พธ.บ. (บริหารการศึกษา)

รองศาสตราจารย์

 สาขาตรง

ผลงานทางวิชาการ ๕ ปีย้อนหลัง
1.งานวิจัย          
     1.1 พระชยานันทมุนี, พระครูสิริสุตานุยุต, พูนทรัพย์ เกตุวีระพงศ์, สมจันทร์ ศรีปรัชยานนท์ และฤทธิ์ชัย แกมนาค. “การเสริมสร้างเครือข่ายการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของวัดและชุมชนในล้านนา”. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๓): ๒๑๕-๒๑๗.https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/242351 TCI กลุ่ม ๒

     1.2 พระมหาไกรสร โชติปญฺโญ, พระมหาอรรถพล นริสฺโร, พระครูสิริสุตานุยุต, ปิ่นปินัทธ์ เหลืองพิทักษ์, ปกรณ์ มหากันทา, เสน่ห์ ใจสิทธ์ และ สามารถ บุญรัตน์. “รูปแบบการเสริมสร้างสุขภาวะเชิงพุทธของหน่วยอบรมประชาชนประจำ (อ.ป.ต.) ในภาคเหนือ”. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔): ๑๖-๓๒. TCI กลุ่ม ๒  https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NBJ/article/view/251542/170882

     1.3 พระครูสิริสุตานุยุต, ผศ.ดร, พระใบฎีกาธวัชชัย ไชยวุฒิ, เสน่ห์ ใจสิทธิ์. “โรงเรียนผู้สูงอายุ โรงเรียนผู้สูงอายุรูปแบบและการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุของวัดและชุมชนจังหวัดลำพูน”. วารสาร มจร.หริภุญชัยปริทรรศน์ ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม 2565): ๑๖๐-๑๗๓.          https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JMHR/article/view/261528/177739

     1.4 พิสิฏฐ์ โคตรสุโพธิ์, พลสรรค์ สิริเดชนนท์, พระครูสิริสุตานุยุต, จันทรัสม์ ตาปูลิง “การพัฒนาสื่อและนวัตกรรมการสอนแบบบูรณาการของครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนจังหวัดเชียงใหม่” วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ มจร วิทยาเขตแพร่ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2565) : 45-55.  ISSN 2408-2457. http://www.ojs.mcu.ac.th/index.php/JGMP/article/view/6812 TCI กลุ่ม ๒

     1.5 พระครูสิริสุตานุยุต, พระมหาอิินทร์์วงศ์์ อิิสฺฺสรภาณีี, นิิกร ยาอิินตา “Defense mechanism : กลไกการป้องกันตนเองแบบรอบด้านเชิงพุทธ จากผลกระทบโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หมู่บ้านสีขาว จังหวัดลำพูน”. วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา, ปีที่ 18 ฉบับที่ ๑ มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๗ : ๘๕-๑๐๒ ISSN : 1905-534X (Print), ISSN : 2697-3995 (Online) https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JBS/article/view/269220

     1.6 พระครูสิริสุตานุยุต, ธวัชชัย ไชยวุฒิ, พัลลภ หารุคำจา, รัชดา อมาตยกุล, “รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนตำบลอุโมงค์ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน” วารสารธรรมวิชญ์ ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑, ๒๕๖๗): ๗๔๓-๗๖๐  เอกสารสืบเนื่องการประชุมสัมมนาวิชาการพระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ระดับชาติและระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๔ บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่.        https://www.firstojs.com/index.php/JDW/article/view/156

. บทความทางวิชาการ
     2.1 พระดนัย ชยฺขเมธี, พระครูสิริสุตานุยุต, พระอธิการสมนึก จรโณ. “การศึกษาประเพณีการปฏิบัติธรรมในวันพระของชาวพุทธล้านนา”. วารสาร มจร.หริภุญชัยปริทรรศน์ ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๓): ๓๐-๓๙. 
        https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JMHR/article/view/244793/166924.

     2.2 พระครูสุธรรมธวัชชัย, พระครูสิริสุตานุยุต, กลยุทธ์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศนอร์เวย์ของพระธรรมทูตไทย, วารสารปรัชญาปริทรรศน์ ปีที่ ๒๗ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๕ : ๒๒๓-        ๒๔๘,
https://so05.tci-thaijo.org/index.php/phiv/article/view/258851/176354, TCI กลุ่ม ๒

     2.3 พระมหาทศพร ทสวโร ชนันชนะ,พระครูสิริสุตานุยุต, ยุทธศาสตร์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย ของวัดไทยนาลันทา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย. วารสารปรัชญาปริทรรศน์. มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๖ :๑๑๓-๑๒๙,
https://so05.tci-thaijo.org/index.php/phiv/issue/view/17469, TCI กลุ่ม ๒

     2.4 พระครูปลัดทนง ชยาภรโณ (วงค์สายะ), พระครูสิริสุตานุยุต,รศ.ดร., ไพรินทร์ ณ วันนา, วิมานของสัตว์ที่อุบัติในอบายภูมิปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๖ วารสาร มจร.หริภุญชัยปริทรรศน์ ปีที่          ๗ ฉบับที่ ๒ เมษายน – มิถุนายน ๒๕๖๖ : ๒๒๗-๒๓๗,
https://so05.tci-thaijo.org/index.php/phiv/article/view/259857 TCI กลุ่ม ๒

     2.5 เทพประวิณ จันทร์แรง, พัลลภ หารุคำจา, พระครูสิริสุตานุยุต, ธวัชชัย ไชยวุฒิ. “พระเมืองแก้วกับการส่งเสริมพระพุทธศาสนาในยุคล้านนา” การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๓ “พระพุทธศาสนา           กับปัญญาประดิษฐ์” ของ มมร.ล้านนา วันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๘ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา  ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑ (2025) : ๓๓๐-๓๑๔
https://www.firstojs.com/index.php/MBU/issue/view/219

. หนังสือ/ตำรา
 ๓.๑ พระครูสิริสุตานุยุต. พระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่.  พิมพ์ครั้งที่ ๑. ลำพูน : วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๕, ๓๑๙  หน้า ISBN :  978-616-300-793-3  

ที่

ชื่อ/ฉายา/นามสกุล

วุฒิการศึกษา/สาขาวิชา
(.เอก/.โท/.ตรี)

ตำแหน่งทางวิชาการ

สาขาตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาที่เปิดสอน

พระครูโกวิทอรรถวาที, ผศ.ดร.

Ph. D. (Buddhist Studies)
M.A. (Linguistics)
พธ.บ. (ภาษาอังกฤษ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

 สาขาตรง

ผลงานทางวิชาการ ๕ ปีย้อนหลัง
. งานวิจัย
           ๑.๑ พระครูโกวิทอรรถวาที, “วัฒนธรรมเชิงพุทธแบบล้านนากับการแก้ปัญหาการฆ่าตัวตาย”. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ ๖. “งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ทางพระพุทธศาสนาเพื่อการรับใช้สังคม” วันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓, ณ วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, หน้า ๓๕๑-๓๖๓
           ๑.๒ พัลลภ หารุคำจา, พระครูปลัดณัฐพล จนฺทิโก, พระครูโกวิทอรรถวาที, พระครูธรรมธวัชชัยวิชิต ชยาภินนฺโทและบุญมี แก้วตา. “การพัฒนาหลักสูตรแบบบุรณาการครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนจังหวัดเชียงใหม่”. วารสารปัญญา ปีที่ ๒๙ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๕): ๘๐-๙๕.
https://so06.tci-thaijo.org/index.php/panya-thjo/article/view/256414 TCI กลุ่ม ๒
           ๑.๓ พระครูโกวิทอรรถวาที(อุดร แสงแก้ว ไพรินทร์ ณ วันนา  เสน่ห์  ใจสิทธิ์ นฤพันธ์ สมเจริญ จันทรัสม์  ตาปูลิง. พุทธนวัตกรรมสื่ออีเลิร์นนิ่งภาษาอังกฤษสําหรับการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานตามแนวสติปัฎฐานทั้งสี่ ในยุคสังคมวิถีชีวิตใหม่. Journal of MCU Haripunchai Review. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน–  มิถุนายน ๒๕๖๗.
          ๑.๔ พระครูโกวิทอรรถวาที, ผศ.ดร, จันทรัสม์ ตาปูลิง, พระมหาอินทร์วงค์ อิสฺสรภาณี, ไพรินทร์ ณ วันนา และคณะ. “ธรรมาสน์ล้านนา : อัตลักษณ์ ภูมิปัญญา และสุนทรียศาสตร์มรดกวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา”. วารสารวิชาการแสงอีสาน ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๒ ประจำเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๗.: ๑๗๐- ๑๘๕, ISSN:3027-6152 (Print) ISSN:3027-6160(online)
          https://so01.tci-thaijo.org/index.php/jsi/article/view/276672
          ๑.๕ พระครูโกวิทอรรถวาที, ผศ.ดร, จันทรัสม์ ตาปูลิง, พระมหาอินทร์วงค์ อิสฺสรภาณี, ไพรินทร์ ณ วันนา และคณะ. “ธรรมาสน์ล้านนา : อัตลักษณ์ ภูมิปัญญา และสุนทรียศาสตร์มรดกวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา”, วารสารวิชาการแสงอีสาน ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๒ ประจำเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๗.: ๑๗๐- ๑๘๕, ISSN:3027-6152 (Print) ISSN:3027-160(online)
          https://so01.tci-thaijo.org/index.php/jsi/article/view/276672

. บทความทางวิชาการ
          ๒.๑ Prarakhru Kowitattawatee & Wiphawan Limphabool.Fostering and sustaining teacher resilience through intergration of Eastern and Western mindfulness.Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology.Published online:10 jul 2022. ISSN: 2331-186X

          ๒.๒  ดร.วิภาวรรณ ลิมป์ไพบูลย์, พระครูโกวิทอรรถวาที,ผศ.ดร. หลักพุทธธรรมและทฤษฎีการพัฒนาทางจริยธรรมของโคลเบิร์กเพื่อลดการทุจริตในองค์กร.วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 (พฤษภาคม 2565): หน้า ๑๗๕-๑๙๓. SSN : 2651-1630 (Print) ISSN : 2672-9040 (Online) 

          ๒.๓ พระปลัดอาทิตย์ อิทฺธิโชโต (ก้อนแก้ว), ปกรณ์ มหากันธา, พระครูโกวิทอรรถวาที. “การศึกษาความเชื่อเรื่องโหราศาสตร์ของชาวพุทธในล้านนา”. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ ๖. “งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ทางพระพุทธศาสนาเพื่อการรับใช้สังคม”. วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓: ๕๘๐-๕๘๙.

           ๒.๔ พระเมธี กญฺจวํโส (พรมแก้ว), พระมหาอินทร์วงค์ อิสฺสรภาณี, พระครูโกวิทอรรถวาที. “ศัตราวุธในฐานะเป็นเครื่องประกอบพิธีสมโภชพระพุทธรูปในล้านนา”. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ ๖. “งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ทางพระพุทธศาสนาเพื่อการรับใช้สังคม”. วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓: ๗๑๒-๗๑๗.

          ๒.๕ จันทรัสม์ ตาปูลิง, พระครูโกวิทอรรถวาที, พระครูสังฆรักษ์พิทยา ญาณธโร. “อริยมรรค ๘ : กระบวนการศึกษาเพื่อพัฒนาบัณฑิตตามหลักพระพุทธศาสนา”. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ ๔. “พุทธเกษตร: นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน”. วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. วันที่ ๙ กันยายน ๒๕๖๓: ๑๔๘๖-๑๔๙๖.

          ๒.๖ พระครูโกวิทอรรถวาที และไพรินทร์ ณ วันนา. “พุทธบูรณาการกับการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย”.การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ ๗. “วิถีพุทธ วิถีชุมชน รากฐานชีวทัศน์เชิงสังคมล้านนาในสังคมวิถีใหม่”. วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔: ๗๔๘-๗๕๗.

         ๒.๗ Phrakhru Kowitarttawatee. “Creating a Culture of Mindfulness: From Religion to Workplace”. the 1st International and The 8th National Conference 2022. 19-20 March 2022 in Lamphun Buddhist College : pp.133-147.

        ๒.๘ Phrakhru Kowitarttawatee and Wiphawan Limphaibool. “Fostering and sustaining teacher resilience through integration of Eastern and Western mindfulness”. Cogent Education. Scopus tier II.

        ๒.๙ ไพศาล เครือแสง ไพรินทร์ ณ วันนา พระครูโกวิทอรรถวาที และนฤพันธ์ สมเจริญ. “พระพุทธศาสนากับการตีความเชิงจริยศาสตร์”. รายงานสืบเนื่องจากประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๘ และระดับชาติ ครั้งที่ ๑. เรื่อง “พระพุทธศาสนา กับแนวโน้มโลกยุคใหม่ : วิถีครูบาศรีวิชัยสู่อารยธรรมร่วมสมัย”. วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วันที่ ๑๙-๒๐ มีนาคม ๒๕๖๕: ๑๐๔๑-๑๐๕๕.

         ๒.๑๐ วิภาวรรณ ลิมป์ไพบูลย์ และพระครูโกวิทอรรถวาที. “หลักพุทธธรรมและทฤษฎีการพัฒนาทางจริยธรรมของโคล    เบิร์กเพื่อลดการทุจริตในองค์กร”. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๕ (พฤษภาคม ๒๕๖๕): ๑๗๕-๑๙๓.

        ๒.๑๑ พระมหาสมศักดิ์ สุจิตฺโต, พระครูโกวิทอรรถวาที และพัลลภ  หารุคำจา, การศึกษาเชิงวิเคราะห์ตำนานพระธาตุจอมทองล้านนา, รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ ๙ เรื่อง  “พุทธวิธี และวิถีครูบา กับการแก้ปัญหาวิกฤตโลก”  (The Buddhist and Kruba Methods to Solve the World Crisis) วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๖

       ๒.๑๒ พระมหาภาณุพงษ์ คุณยุตโต พระครูโกวิทอรรถวาที สรวิชญ์ วงษษ์สะอาด จันทรัสม์ ตาปูลิง. อิทธิพลของประเพณีลอยขโมดที่ส่งผลต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชนตำบลต้นธง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน.วันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๕.

       ๒.๑๓ พระครูโสภณวีรบัณฑิต และพระครูโกวิทอรรถวาที. สะเปา: จากศรัทธาสู่การพัฒนาเศรษฐกิจวัฒนธรรมวุ่มแม่น้ำวัง.รหัสบทความ ๒๖๗๐๗๙.วันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๖๖.

       ๒.๑๔ พระครูวรปัญญาพล พระครูโกวิทอรรถวาที และปกรณ์ มหากันธา. แนวทางส่งเสริมการบริหารงานของหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล(อปต.) มะเขือแจ้ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ตามหลักสาราณียธรรม. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ ๙ เรื่อง “พุทธวิธี และวิถีครูบา กับการแก้ปัญหาวิกฤตโลก”  (The Buddhist and Kruba Methods to Solve the World Crisis) วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๖

       ๒.๑๕ พระศิวนาถ ทีปธมฺโม (มะโนเสาร์) พระครูโกวิทอรรถวาที และไพรินทร์ ณ วันนา. การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมในการดูดวงด้วยไพ่โหราศาสตร์แบบล้านนา. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ ๙ เรื่อง “พุทธวิธี และวิถีครูบา กับการแก้ปัญหาวิกฤตโลก”  (The Buddhist and Kruba Methods to Solve the World Crisis) วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๖

       ๒.๑๖ พระครูบริสุทธิ์สังขวิจิตร พระครูโกวิทอรรถวาที และพระครูสิริสุตานุยุต. รูปแบบและวิธีการปฏิบัติกัมมัฏฐานตามที่ปรากฎในคัมภีร์มูลกัมมัฏฐานฉบับวัดบ้านหลุก อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ ๙ เรื่อง “พุทธวิธี และวิถีครูบา กับการแก้ปัญหาวิกฤตโลก”  (The Buddhist and Kruba Methods to Solve the World Crisis) วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๖

      ๒.๑๗  พระครูสังฆรักษ์ธนอรรถ รตนสิริ (ทะปะละ) พระครูโกวิทอรรถวาที และไพรินทร์ ณ วันนา. การศึกษาวิเคราะห์ลูกประคำในฐานะที่เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติกัมมัฏฐานของพระสงฆ์ล้านนา. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ ๙ เรื่อง “พุทธวิธี และวิถีครูบา กับการแก้ปัญหาวิกฤตโลก”  (The Buddhist and Kruba Methods to Solve the World Crisis) วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๖.

      ๒.๑๘  กฤชนนท์ พุทธะ, พระครูโกวิทอรรถวาที, สรวิชญ์ วงษ์สะอาด, จันทรัสม์ ตาปูลิง, ศีล ๕ กับหน้าที่ของชาวพุทธที่ดี

The 5 precepts and the duty of a good Buddhist. วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๓ กันยายน – ธันวาคม ๒๕๖๖.

     ๒.๑๙  พระมหาภานุพงษ์ คุณยุตโต (ดีวรรณา), พระครูโกวิทอรรถวาที, สรวิชญ์ วงษ์สะอาด, จันทรัสม์ ตาปูลิง,อิทธิพลของประเพณีลอยขโมดที่ส่งผลต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชนตําบลต้นธง อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน.วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ ปีที่๙ ฉบับที่ ๓ กันยายน –ธันวาคม ๒๕๖๖.

     ๒.๒๐  พระครูโกวิทอรรถวาที,ผศ.ดร, และวิภาวรรณ ลิมป์ไพบูลย์.หลักพุทธธรรมและทฤษฎีองค์กรที่น่าไว้วางใจสูงเพื่อการพัฒนาสติระดับองค์กร.วารสารวิจัยวิชาการ(The Journal of Research and Academics) ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ มกราคม-กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗.
https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jra/article/view/263915

    ๒.๒๑  พระครูโกวิทอรรถวาที(อุดร แสงแก้ว ไพรินทร์ ณ วันนา  เสน่ห์  ใจสิทธิ์ นฤพันธ์ สมเจริญ จันทรัสม์  ตาปูลิง. พุทธนวัตกรรมสื่ออีเลิร์นนิ่งภาษาอังกฤษสําหรับการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานตามแนวสติปัฎฐานทั้งสี่ ในยุคสังคมวิถีชีวิตใหม่. Journal of MCU Haripunchai Review. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน–มิถุนายน ๒๕๖๗.

    ๒.๒๒   พระครูโกวิทิรรถวาที, ผศ.ดร. จันทรัสม์ ตาปูลิง, ไพรินทร์ ณ วันนา. บทบาทของครูบาศรีวิชัยกับการส่งเสริมและพัฒนาวัดตามภูมิปัญญาสถาปัตยกรรมล้านนา. ปีที่ 7 ฉบับที 1 (2567): เอกสารสืบเนื่องการประชุมสัมมนาวิชาการพระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ระดับชาติและระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๔
https://firstojs.com/index.php/JDW/article/view/1490/811

    ๒.๒๓  Phrakru Kowitattawatee and Party. The value and belief in the ritual of the four gods in the northern region. Vol. 2 No. 4 : October – December 2024. ISSN: 3027-6721.
https://so13.tci-thaijo.org/index.php/jls/article/view/1118

    ๒.๒๔ วิชญะ ยศกาศ, พระครูโกวิทอรรถวาที. ความยากลำบากของพระสงฆ์ในการใช้ชีวิตในสังคมไทย. วารสารโกศัยปริทรรศน์.  ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2568.
https://so12.tci-thaijo.org/index.php/jmkr/article/view/2629

   ๒.๒๕ บัวผิน สิงห์แก้ว, จันทรัสม์ ตาปูลิง, พระครูโกวิทอรรถวาที. วิเคราะห์บทบาทของอุบาสกอุบาสิกาในพระพุทธศาสนาในยุคสังคมปัจจุบัน. วารสารชัยภูมิปริทรรศน์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2568.
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jcr/article/view/274033

.หนังสือ ตำรา

       ๑. พระครูโกวิทอรรถวาที.ดร. พระพุทธศาสนากับสันติภาพ. พิมพ์ครั้งที่ ๑, เลย : สังสุขสมการพิมพ์,๒๕๖๐.๒๓๘ หน้า. ISBN : ๙๗๘-๖๑๖-๔๕๕-๕๓๔-๑

ประวัติและผลงานทางวิชาการ

. ชื่อ/ฉายา/สกุล                  พระมหาอินทร์วงค์  อิสฺสรภาณี, ดร.      
           ๑.๑  วัน เดือน ปี เกิด วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๒๑
          ๑.๒  อายุ ๔๖ ปี

. ตำแหน่งทางวิชาการ           อาจารย์ (อาจารย์อัตราจ้าง)
. สาขาที่เชี่ยวชาญ               พระพุทธศาสนา
. สังกัดสถานที่                   บัณฑิตศึกษาวิทยาลัยสงฆ์ลำพูน  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

. การศึกษา

คุณวุฒิ/สาขาวิชา

สถาบันที่สำเร็จการศึกษา

ปี พ..

พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๒๕๕๗

กศ.ม. (บริหารการศึกษา)

มหาวิทยาลัยนเรศวร

๒๕๔๘

พธ.บ. (ภาษาอังกฤษ)

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๒๕๔๕

. ภาระงานในความรับผิดชอบ (ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)

     .๑ ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาตรี

ที่

รายวิชาที่สอน

สถานที่สอน

เปรียบเทียบเถรวาทกับมหายาน

วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

      .๒ ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาโท

ที่

รายวิชาที่สอน

สถานที่สอน

พระพุทธศาสนาเถรวาท

วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ระเบียบวิธีวิจัยทางพระพุทธศาสนา

วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

การใช้ภาษาบาลี ๑

วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

การใช้ภาษาบาลี ๒

วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

 . ผลงานทางวิชาการ (งานวิจัย/บทความทางวิชาการ/หนังสือ/ตำรา)

 .๑ งานวิจัย

จันทรัสม์ ตาปูลิง พระมหาอินทร์วงค์ อิสฺสรภาณี และพระครูไพศาลธรรมานุสิฐ. “การศึกษาแนวคิดกระบวนการป้องกันและแก้ไขการฆ่าตัวตายตามหลักพระพุทธศาสนา”. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๒): ๑๕-๒๕.
https://so03.tci-thaijo.org/index.php/human/issue/view/14699
พระมหาอินทร์วงค์ อิสฺสรภาณี. “แนวคิดทางด้านพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในคัมภีร์จามเทวีวงศ์”. วารสารปัญญา ปีที่ ๒๙ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๖๕): ๓๗-๔๖.
https://so06.tci-thaijo.org/index.php/panya-thjo/issue/view/17378
พระมหาอินทร์วงค์ อิสฺสรภาณีและคณะ,. กระบวนการสร้างกลไกการปรับตัวด้านการจัดกิจกรรมทางสังคมเชิงพุทธจากผลกระทบโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 หมู่บ้านสีขาว จังหวัดลำพูน วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา ปีที่ ๑๕ ฉบับที่ ๑ l มกราคม – มิถุนายน l๒๕๖๗  : ๑๐๓-๑๑๘. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JBS/article/view/269240 TCI กลุ่ม ๒

.๒ บทความทางวิชาการ
สรวิชญ์ วงษ์สะอาด พระมหาอินทร์วงค์ อิสฺสรภาณี และจันทรัสม์ ตาปูลิง. “สถานะของมารดาในฐานะสตรี ตามพระวินัย”. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๑):๘๕-๙๒.
https://so03.tci-thaijo.org/index.php/human/issue/download/11136/-

เสน่ห์ ใจสิทธิ์ ทักษิณ ประชามอญ และพระมหาอินทร์วงค์ อิสฺสรภาณี. “กระบวนการปลูกฝังจิตอาสาเพื่อสังคม สำหรับเยาวชนตามแนวพุทธ”. รายงานสืบเนื่องจากประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๕. เรื่อง“ต้นทุนอารยธรรม ตามรอยวิถีครูบา และเส้นทางบุคคลสำคัญของโลก”. วิทยาลัยสงฆ์ลำพูนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วันอาทิตย์ ที่ ๗ เมษายน ๒๕๖๒: ๒๐๘-๒๑๙.พระมหาอินทร์วงค์ อิสฺสรภาณี. “การอ้างความไม่รู้ในพระวินัย”. รายงานสืบเนื่องจากประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๗. เรื่อง “วิถีพุทธ วิถีชุมชน รากฐานชีวทัศน์เชิงสังคมล้านนาในสังคมวิถีใหม่”.วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วันอาทิตย์ ที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔:๗๐๓-๗๐๙. https://lpn.mcu.ac.th/mculpn/?page_id=809
พระมหาอินทร์วงค์ อิสฺสรภาณี. “จุลกฐิน : วิถีพุทธ วิถีเส้นฝ้าย และวิถีแห่งชีวิต”. รายงานสืบเนื่องจากประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๘ และระดับชาติครั้งที่ ๑. เรื่อง “พระพุทธศาสนา กับแนวโน้มโลกยุคใหม่ :วิถีครูบาศรีวิชัยสู่อารยธรรมร่วมสมัย”. วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.วันที่ ๑๙-๒๐ มีนาคม ๒๕๖๕: ๖๑๗-๖๒๖.
https://lpn.mcu.ac.th/mculpn/?page_id=3462
Thanwa Chaikaew Chantarat Tapuling Phairin Na wann . “The Analysis of Ecosystem inBuddhist Perspective”. the 1st International and The 8th National Conference2022. 19-20 March 2022 in Lamphun Buddhist College : pp.133-154.
https://lpn.mcu.ac.th/mculpn/?page_id=3462

.๓ หนังสือ/ตำรา
พระมหาอินทร์วงค์ อิสฺสรภาณี. (๒๕๖๑). นิกายสำคัญแห่งมหายาน. เชียงใหม่: บริษัท สยามพิมพ์นานา จำกัด. จำนวน ๒๗๙ หน้า.            

 

. กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา
          – วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ที่

ชื่อ/ฉายา/นามสกุล

วุฒิการศึกษา/สาขาวิชา
(.เอก/.โท/.ตรี)

ตำแหน่งทางวิชาการ

สาขาตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาที่เปิดสอน

ผศ.ดร.ไพรินทร์ ณ วันนา

พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
พธ.ม. (พระพุทธศาสนา)
พธ.บ. (ศาสนา)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

 สาขาตรง

ผลงานทางวิชาการ ๕ ปีย้อนหลัง

. งานวิจัย.
           1.๑ เทพประวิณ จันทร์แรง, พระครูสิริปริยัตยานุศาสก์, ไพรินทร์ ณ วันนา, พรศิลป์ รัตนชูเดช, วิโรจน์ วิชัย, สุชัย สิริรวีกูล, อํานาจ ขัดวิชัย “ศึกษารูปแบบการพัฒนาศักยภาพครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนจังหวัดเชียงใหม่” วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ มจร วิทยาเขตแพร่ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2565) : 56-67. ISSN: 2408-2457
http://www.ojs.mcu.ac.th/index.php/JGMP/article/view/6815 TCI กลุ่ม ๒

           ๑.๒ เสน่ห์ ใจสิทธิ์, ญาณิศา โกมลสิริโชค, ไพรินทร์ ณ วันนา และคณะ. การยกระดับคุณภาพสินค้าผ้าย้อมจากสีธรรมชาติด้วยทุนทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ ตำบลตะเคียนปม อำเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลำพูน. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ 12ฉบับที่ 5 กันยายน-ตุลาคม 2567. ISSN : 2985-1556.
 https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-peace/article/view/275783

          ๑.๓ พระครูโกวิทอรรถวาที, ผศ.ดร, จันทรัสม์ ตาปูลิง, พระมหาอินทร์วงค์ อิสฺสรภาณี, ไพรินทร์ ณ วันนา และคณะ. “ธรรมาสน์ล้านนา : อัตลักษณ์ ภูมิปัญญา และสุนทรียศาสตร์มรดกวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา”. วารสารวิชาการแสงอีสาน ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๒ ประจำเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๗.: ๑๗๐- ๑๘๕, ISSN:3027-6152 (Print) ISSN:3027-6160(online)
          https://so01.tci-thaijo.org/index.php/jsi/article/view/276672

. บทความทางวิชาการ
            ๒.๑ สายัณห์ อินนันใจ ธนนันท์ คุ้มถิ่นแก้ว ไพรินทร์ ณ วันนา และกฤษณะ เชื้อสิงห์. “การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ในจังหวัดแพร่”. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ มจร วิทยาเขตแพร่. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๓): ๓๒-๔๑. ISSN: 2408-2457
            ๒.๒ ไพรินทร์ ณ วันนา. “วัฒนธรรมเชิงพุทธแบบล้านนากับการแก้ปัญหาการฆ่าตัวตาย”. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ ๖.“งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ทางพระพุทธศาสนาเพื่อการรับใช้สังคม”.วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓: ๓๕๑-๓๖๓.
            ๒.๓ สายัณห์ อินนันใจ, ธนนันท์ คุ้มถิ่นแก้ว, ไพรินทร์ ณ วันนา, กฤษณะ เชื้อสิงห์. “การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ในจังหวัดแพร่”. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ มจร วิทยาเขตแพร่. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๓): ๓๒-๔๑
            ๒.๔ ประเด่น แบนปิง, ไพรินทร์ ณ วันนา. “พระพุทธศาสนากับการพัฒนาสถาบันครอบครัว”. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ ๗, เรื่อง “วิถีพุทธ วิถีชุมชน รากฐานชีวทัศน์เชิงสังคมล้านนาในสังคมวิถีใหม่”. วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔: ๙๕๓-๙๖๒.
            ๒.๕ พระครูโกวิทอรรถวาที, ไพรินทร์ ณ วันนา. “พุทธบูรณาการกับการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย”.การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ ๗. “วิถีพุทธ วิถีชุมชน รากฐานชีวทัศน์เชิงสังคมล้านนาในสังคมวิถีใหม่”. วิทยาลัยสงฆ์ลำพูนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔: ๗๔๘-๗๕๗.
            ๒.๖ ไพศาล เครือแสง, ไพรินทร์ ณ วันนา, พระครูโกวิทอรรถวาที, นฤพันธ์ สมเจริญ. “พระพุทธศาสนากับการตีความเชิงจริยศาสตร์”. รายงานสืบเนื่องจากประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๘ และระดับชาติครั้งที่ ๑. เรื่อง “พระพุทธศาสนา กับแนวโน้มโลกยุคใหม่ : วิถีครูบาศรีวิชัยสู่อารยธรรมร่วมสมัย”. วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วันที่ ๑๙-๒๐ มีนาคม ๒๕๖๕ : ๑๐๔๑-๑๐๕๕.
            ๒๗ Thanwa Chaikaew, Chantarat Tapuling, Phairin Na wann, “The Analysis of Ecosystem in Buddhist Perspective”. the 1st International and The 8th National Conference 2022. 19-20 March 2022 in Lamphun Buddhist College : pp.133-154.
            ๒.๘ Phairin Na wann, Pakorn Mahakuntha, Paradorn Sukhphan, Somnuek Carano (Tubpo) “Bodhipakkhiya-dhamma: Buddhist Methods for Health Care”. the 1st International and The 8th National Conference 2022. 19-20 March 2022 in Lamphun Buddhist College : pp.133-146.
            ๒.๙ พระแสงหล้า สิริสุวัณโณ, ผศ.ดร.ไพรินทร์ ณ วันนา, ผศ.ดร.ปกรณ์ มหากันธา, การศึกษาวิเคราะห์อัตลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาของกลุ่มชาติพันธ์ไทลื้อ อำเภอบ้านธิ จังหวัดลำพูน. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ ๙ เรื่อง “พุทธวิธี และวิถีครูบา กับการแก้ปัญหาวิกฤตโลก”  (The Buddhist and Kruba Methods to Solve the World Crisis) วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๖.
            ๒.๑๐ พระครูสังฆรักษ์ธนอรรถ รตนสิริ, พระครูโกวิทอรรถวาที, ผศ.ดร., ผศ.ดร.ไพรินทร์ ณ วันนา. การศึกษาวิเคราะห์ลูกประคำในฐานะที่เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติกัมมัฏฐานของพระสงฆ์ล้านนา.รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ ๙ เรื่อง  “พุทธวิธี และวิถีครูบา กับการแก้ปัญหาวิกฤตโลก”  (The Buddhist and Kruba Methods to Solve the World Crisis) วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๖.
             ๒.๑๑ พระครูบรรพตพัฒนชัย พระครูสิริสุตานุยุต, รศ.ดร, ผศ.ดร.ไพรินทร์ ณ วันนา. วิเคราะห์หลักพุทธธรรมที่ปรากฏในประเพณีแห่ช้างเผือกขอฝนของวัดทาดอยแช่ อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน.รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ ๙ เรื่อง  “พุทธวิธี และวิถีครูบา กับการแก้ปัญหาวิกฤตโลก”  (The Buddhist and Kruba Methods to Solve the World Crisis) วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๖.
              ๒.๑๒ พระวันแสง นนฺติโย พระมหาอินทร์วงค์ อิสฺสรภาณี, ดร.ผศ.ดร.ไพรินทร์ ณ วันนา. ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดการสร้างวัดในพระพุทธศาสนาของกลุ่มชาติพันธุ์ไทใหญ่ กรณีศึกษาวัดกู่ม่านมงคลชัย ตำบลสันปูเลย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่.รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ ๙ เรื่อง  “พุทธวิธี และวิถีครูบา กับการแก้ปัญหาวิกฤตโลก”  (The Buddhist and Kruba Methods to Solve the World Crisis) วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๖
               ๒.๑๓ พระศิวนาถ ทีปธมฺโม (มะโนเสาร์) พระครูโกวิทอรรถวาที, ผศ.ดร.ผศ.ดร.ไพรินทร์ ณ วันนา. การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมในการดูดวงด้วยไพ่โหราศาสตร์แบบล้านนา.รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ ๙ เรื่อง  “พุทธวิธี และวิถีครูบา กับการแก้ปัญหาวิกฤตโลก”  (The Buddhist and Kruba Methods to Solve the World Crisis) วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๖.
               ๒.๑๔ พระครูบรรพตพัฒนชัย.วิเคราะห์หลักพุทธธรรมที่ปรากฏในประเพณีแห่ช้างเผือกขอฝนของวัดทาดอยแช่ อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน.รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ ๙ เรื่อง  “พุทธวิธี และวิถีครูบา กับการแก้ปัญหาวิกฤตโลก”  (The Buddhist and Kruba Methods to Solve the World Crisis) วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๖.
                ๒.๑๕ พระวันแสง นนฺติโย. ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดการสร้างวัดในพระพุทธศาสนาของกลุ่มชาติพันธุ์ไทใหญ่ กรณีศึกษาวัดกู่ม่านมงคลชัย ตำบลสันปูเลย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่.รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ ๙ เรื่อง  “พุทธวิธี และวิถีครูบา กับการแก้ปัญหาวิกฤตโลก”  (The Buddhist and Kruba Methods to Solve the World Crisis) วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๖
                ๒.๑๖ พระศิวนาถ ทีปธมฺโม (มะโนเสาร์).การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมในการดูดวงด้วยไพ่โหราศาสตร์แบบล้านนา.รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ ๙ เรื่อง  “พุทธวิธี และวิถีครูบา กับการแก้ปัญหาวิกฤตโลก”  (The Buddhist and Kruba Methods to Solve the World Crisis) วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๖.
                ๒.๑๗ พระครูโกวิทิรรถวาที, ผศ.ดร. จันทรัสม์ ตาปูลิง, ไพรินทร์ ณ วันนา. บทบาทของครูบาศรีวิชัยกับการส่งเสริมและพัฒนาวัดตามภูมิปัญญาสถาปัตยกรรมล้านนา. ปีที่ 7 ฉบับที 1 (2567): เอกสารสืบเนื่องการประชุมสัมมนาวิชาการพระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ระดับชาติและระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๔
               https://firstojs.com/index.php/JDW/article/view/1490

.หนังสือ ตำรา
              ๑. ไพรินทร์ ณ วันนา. ชาดกศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ ๑, เลย : สังสุขสมการพิมพ์, ๒๕๖๐. ๒๓๘ หน้า. ISBN : ๙๗๘-๖๑๖-๔๕๕-๕๓๔-๑

อารยธรรมวิถี ๔ ครูบา : แนวคิดและกระบวนการพัฒนาสังคมในจังหวัดลำพูน
การบริหารจัดการแหล่งโบราณสถานเพื่อการท่องเที่ยวเชิงพุทธขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสุราษฏร์ธานี
การบริหารเชิงพุทธบูรณาการเพื่อสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัวในเขตเทศบาลเมืองเลย
รูปแบบการพัฒนาความเป็นธรรมาธิปไตยของผู้นำชุมชนในเขตอำเภอเมืองจังหวัด นครศรีธรรมราช
กระบวนการเสริมสร้างการเรียนรู้และสุขภาวะเพื่อการลดการฆ่าตัวตายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำพูน
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธกับการสร้างเสริมความมั่นคงของครอบครัวพ่อ-แม่มือใหม่
รูปแบบการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนชาวพุทธและมุสลิมในจังหวัดสุราษฏร์ธานี
พุทธนวัตกรรมการพัฒนาระเบียบวินัยของเยาวชนไทย
กลยุทธ์การพัฒนาองค์กรแห่งความสุขตามแนวพระพุทธศาสนา
– รูปแบบการเรียนการสอนรายวิชาการเมืองการปกครองไทยด้วยหลักอริยสัจของนิสิตระดับปริญญาตรี สาขาวิชารัฐศาสตร์
การบริหารและการพัฒนาหลักสูตรพุทธสตรีศึกษา-ผสาน
การปฏิรูประบบราชการภายใต้มาตรา 44 หน้า 156
การพัฒนาทุนมนุษย์ในศตสรรษที่ 21 หน้า 1145
การพัฒนาประเทศตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในยุคไทยแลนด์
การพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรตามหลักสังคหวัตถุธรรม
การสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรตามหลักสังคหวัตถุธรรม
จริยธรรมของภาวะผู้นำเชิงพุทธเพื่อการเปลี่ยนแปลงองค์กรรัฐ หน้า 363
นโยบายแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน้า 277
พระพุทธศาสนากับการพัฒนาสตรีเพื่อการแก้ไขปัญหาสังคม หน้า 488
พระพุทธศาสนากับการพัฒนาสตรีเพื่อการพัฒนาสังคม
พฤติกรรมภาวะผู้นำกับการสร้างความสุขวิถีพุทธในองค์กร หน้า 224
พุทธนวัตกรรมการพัฒนาระเบียบวินัยของเยาวชนไทย
ภาวะผู้นำสตรี กรอบแนวคิดตามแนวของพระพุทธศาสนา
สมถและวิปัสสนาภาวนา เครื่องมือสำหรับการสร้างความสุขในองค์กร หน้า 495
สันติภาพโลกบนพื้นฐานแนวคิดทางพระพุทธศาสนา หน้่า 140
The teaching and learning model of Thai Political studies courses using the Four Noble p.303
การบริหารจัดการแหล่งโบราณสถานเพื่อการท่องเที่ยวเชิงพุทธขององค์กรปกครอง หน้า 130
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการทางวิชาการของโรงเรียนพระปริยัติธรรมในจังหวัดเลย หน้า 185
รูปแบบการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนชาวพุทธและมุสลิมในจังหวัดสุราษฎร์ธานี หน้า 52
การบริหารเชิงพุทธบูรณาการเพื่อสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัวในเขตเทศบาลจังหวัดเลย หน้า 589
กลไกการบริหารจัดการแหล่งโบราณสถานเพื่อการท่องเที่ยวขององค์กรปกครองาส่วนท้องถิ่น จังหวัดสุราษฎร์ธานี หน้า 344
– จริยธรรมของภาวะผู้นำเชิงพุทธเพื่อการเปลี่ยนแปลงองค์กรรัฐ
อารยธรรมวิถี ๔ ครูบา แนวคิดและกระบวนการพัฒนาสังคมในจังหวัดลาพูน
การอนุรักษ์และการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นของคนเลี้ยงโคในจังหวัดเลย
– ภาวะผู้นำกับการสร้างและการพัฒนาองค์กรท้องถิ่นแห่งความสุข

ประวัติและผลงานทางวิชาการ

๑.     ชื่อ/ฉายา/นามสกุล         ดร.พัลลภ  หารุคำจา
ชื่อ (ภาษาอังกฤษ)         Dr. Panlob  Harukhamja
   ๑.๑ วัน เดือน ปี เกิด           วันที่ ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๕
   ๑.๒ อายุ ๕๓ ปี

๒.    ตำแหน่งทางวิชาการ        อาจารย์
๓.     สาขาที่เชี่ยวชาญ            พระพุทธศาสนา
๔.     สังกัด-สถานที่                วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยที่อยู่ปัจจุบัน  บ้านเลขที่  ๑๒๔/๑  หมู่  ๒  ตำบลศรีเตี้ย  อำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน ๕๑๑๓๐ โทรศัพท์ ๐๖๒-๖๙๘๑๒๑๘
Email : Panlob19@hotmail.com

๕.      การศึกษา

             คุณวุฒิ

 ปีที่สำเร็จ

 ชื่อสถานที่ศึกษา

พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)

๒๕๖๒

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

กศ.ม (การบริหารการศึกษา)

๒๕๔๔

มหาวิทยาลัยนเรศวร

ป.บัณฑิต (การจัดการและการประเมินโครงการ )

๒๕๔๕

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พธ.บ.(สังคมวิทยา)

๒๕๔๒

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

 ๖.  ภาระงานในความรับผิดชอบ (ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)

๖.๑ ประสบการณ์ในการสอน

ที่

                            วิชา

            มหาวิทยาลัย



พระพุทธศาสนากับการพัฒนาที่ยั่งยืน (ป.ตรี)
พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์  (ป.ตรี)
การเขียนบทความทางพระพุทธศาสนา (ป.ตรี)

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยวิทยาลัยสงฆ์ลำพูน


พระพุทธศาสนาเถรวาท (ป.โท)
ศึกษางานสำคัญทางพระพุทธศาสนา (ป.โท)

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่

สัมมนาพระพุทธศาสนากับวิชาชีพ (ป.เอก)

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่

๗. ผลงานทางวิชาการ

๗.๑ งานวิจัย
๑.พัลลภ  หารุคำจา, ส่งเสริม แสงทอง, .ชินชัย แก้วเรือน, และนพดณ  ปัญญาวีรทัต “การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเชิงพุทธบูรณาการ: กรณีศึกษาการฟื้นฟูประเพณีแห่ช้างเผือกในพื้นที่ลุ่มน้ำลี้จังหวัดลำพูน” วารสารมจร นครลำปาง ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) : ๒๗๓-๒๘๒.
๒.พัลลภ  หารุคำจา, กตัญญู เรือนตุ่น, สุชัย  สิริรวีกูล และพลสรรค์  สิริเดชนนท์ “การปกครองท้องถิ่นไทย:กรณียกฐานะการปกครองเทศบาลตำบลศรีเตี้ย อำเภอบ้านโฮ่ง  จังหวัดลำพูน” การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนา และศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติ เรื่อง“พระพุทธศาสนา : รากฐานการพัฒนาสังคมพหุวัฒนธรรม “Buddhism: The of Multi-Cultural Society Development” วันที่ ๓กันยายน ๒๕๖๒ ณ สำนักบริหารวิชาการ (UNISERV) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๓๔๔-๓๕๓
๓.พระครูปริยัติยานุศาสน์, พระมหาชัยวิชิต  ชยาภินนฺโท, บุณย์ นิลเกษ, เทพประวิณ จันทร์แรงและพัลลภหารุคำจา. “แนวคิดและหลักการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในล้านนา” วารสารสังคมศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๑๒๙-๑๓๖
๔.พัลลภ  หารุคำจา , พระครูปลัดณัฐพล จนฺทิโก, นพดณ ปัญญาวีรทัต, สกุณา คงจันทร์ และวิจิตร เรือนอินทร์  “การเสริมสร้างหลักธรรมาภิบาลในวิถีประชาธิปไตยของผู้นำในตำบลศรีเตี้ย  อำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน” วารสารบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ราชมงคลล้านนา ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๑): ๘๕-๙๖.
๕.ส่งเสริม แสงทอง, พัลลภ  หารุคำจา “การขับเคลื่อนเครือข่ายพระนักพัฒนาบนพื้นที่สูงภายใต้เศรษฐกิจชุมชนแบบพอเพียง: พื้นที่ต้นแบบงาว” วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ ๘ ฉบับเพิ่มเติม(พฤษภาคม- มิถุนายน ๒๕๖๓) : ๒๐-๓๒.
๖.พระครูธีสุตพจน์, พัลลภ  หารุคำจา. “การศึกษาองค์ประกอบพุทธสถาปัตยกรรมและภูมิทัศน์วัฒนธรรมของวัดในอำเภอเมืองเชียงใหม่” วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๓) : ๒๘๗-๓๑๐
๗.พระครูปลัดณัฐพล ประชุณหะ, เดชา ตาละนึกและพัลลภ หารุคำจา “การพัฒนานวัตกรรมชุดความรู้ส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชนต้นแบบในสังคมไทย”. การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ ๒. วันที่ ๑๙-๒๐ กันยายน ๒๕๖๓. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ : ๓๖๘-๓๘๓.
๘. ดร.พัลลภ  หารุคำจาพระครูปลัดณัฐพล จนฺทิโก, (ประชุณหะ), ดร.พระครูโกวิทอรรถวาที, ผศ.ดร.พระครูธรรมธรชัยวิชิต ชยาภินนฺโท (โสภาราช),ดร.นายบุญมี  แก้วตา การพัฒนาหลักสูตรแบบบูรณาการครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลำพูน” วารสารปัญญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๕

๗.๒ บทความทางวิชาการ
๑.ดร.พัลลภ  หารุคำจาและคณะ เรื่อง “การพัฒนาปู่จ๋ารย์ด้านพิธีกรรมเชิงประยุกต์ จังหวัดลำปาง Development of Poojarn’s Application ritual, Lampang Province” การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ ๒ : เรื่อง “พระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบทางณสังคมนววิถี” The 2nd National and International Buddhist Conference on “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal” (BUSRIN 2020) วันที่ ๑๙-๒๐ กันยายน ๒๕๖๓  ณ นำเสนอผลงานผ่านระบบการประชุมออนไลน์

๒.ดร.พัลลภ  หารุคำจาและคณะ เรื่อง “อานาปานสติกับการเคลื่อนไหวร่างกายแบบโยคะ Anapanasati andyoga movement” การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ ๒ : เรื่อง “พระพุทธศาสนากับความรับผิดชอบทางสังคมนววิถี”The 2 nd National and International Buddhist Conference on “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal” (BUSRIN 2020) วันที่ ๑๙-๒๐ กันยายน ๒๕๖๓  ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่  นำเสนอผลงานผ่านระบบการประชุมออนไลน์

๓.Wipaporn Surintham Wilaiphan Surintham Sane Jaisit and Panlob Harukhamja .“Concept and Role of Teachers according to Dakkhina disa in Buddhism”. the 1stInternational and The 8th National Conference 2022. 19-20 March 2022 inLamphun Buddhist College : pp.1-12.
https://lpn.mcu.ac.th/mculpn/?page_id=3462

๔.สุชัย สิริรวีกูล, พัลลภ หารุคำจา ประสิทธิ์ เพ็ชรแสนงาม โลหะวิทยา:, การสร้างสรรค์พุทธศิลปกรรมทาง  พระพุทธศาสนา วารสาร มจร.หริภุญชัยปริทรรศน์ ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๓ กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๖ :          ๑๑๘-๒๐๔  https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JMHR/article/view/a14/a14 TCI กลุ่ม ๒

๕.พระครูปลัดณัฐพล ประชุณหะ เดชา ตาละนึก และพัลลภ หารุคำจา. “การพัฒนาพื้นที่เรียนรู้ของชุมชน          ต้นแบบในสังคมไทย”. ธรรมธารา วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑ (ฉบับรวม          ที่ ๑๘) พ.ศ. ๒๕๖๗ : ๑๕๔-๑๙๐          https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dhammadhara/article/view/270 TCI กลุ่ม ๑

๗.๓ หนังสือ ตำรา

ประวัติและผลงานทางวิชาการ

๑. ชื่อ/ฉายา/สกุล                  ดร.ธวัชชัย ไชยวุฒิ
           ๑.๑ วัน เดือน ปี เกิด     วันที่ ๒๒  ธันวาคม  พ.ศ. ๒๕๓๕
          ๑.๒ อายุ ๓๓ ปี 
๒. ตำแหน่งทางวิชาการ           อาจารย์
๓. สาขาที่เชี่ยวชาญ               พระพุทธศาสนา
๔. สังกัด-สถานที่                   วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๕. ภาระงานในความรับผิดชอบ (ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)
     ๕.๑ ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาตรี

ที่

รายวิชาที่สอน

สถานที่สอน

พระไตรปิฎกศึกษา

วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

พระวินัยปิฎก

วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ศึกษาศาสตร์ในพระไตรปิฎก

วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

พุทธศิลปะ

วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

การเขียนบทความทางพระพุทธศาสนา

วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

อักษรจารึกพระไตรปิฎก

วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

พุทธธรรมกับสังคมไทย

วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มังคลัตถทีปนีศึกษา

วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ศาสนาทั่วไป

วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๑๐

ภาวะผู้นำ

วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

 ๖. ผลงานทางวิชาการ (งานวิจัย/บทความทางวิชาการ/หนังสือ/ตำรา)

 ๖.๑ งานวิจัย
พระครูสิริสุตานุต และ พระใบฎีกาธวัชชัย ชยวุฑฺโฒ จันทรัสม์ ตาปูลิง และ จักรพงศ์ เพ็ญเวียง. “การเสริมสร้างเครือข่ายการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของวัดและชุมชนในล้านนา”. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ ๕. “ต้นทุนอารยธรรมตามรอยวิถีครูบา และเส้นทางบุคคลสำคัญของโลก”. วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วันที่ ๗ เมษายน ๒๕๖๒): ๓๐๗-๓๘๒.พระครูสิริสุตานุยุต, ผศ.ดร., ธวัชชัย ไชยวุฒิ, เสน่ห์ ใจสิทธิ์ “โรงเรียนผู้สูงอายุ : รูปแบบและการจัด สวัสดิการผู้สูงอายุของวัดและชุมชนจังหวัดลำพูน”, วารสาร มจร.หริภุญชัยปริทรรศน์  ปีที่ 6 ฉบับ  ที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2565 : ๑๕๗-๑๗๓
          https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JMHR/article/view/261528/177739 TCI กลุ่ม  ๒

๒. บทความวิชาการ
พระอธิการเทวินทร์ เทวญาโณ (ใจแก้ว).พระครูสิริสุตานุยุต, รศ.ดร.ดร.ธวัชชัย ไชยวุฒิ.บทบาทด้านสา ธารณสงเคราะห์วิถีพุทธของคณะสงฆ์ อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่.รายงานการประชุมวิชาการ  ระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ ๙ เรื่อง  “พุทธวิธี และวิถีครูบา กับการแก้ปัญหาวิกฤตโลก”  (The Buddhist and Kruba Methods to Solve the World Crisis) วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๖     
     https://drive.google.com/drive/folders/1t6XG0LaOsvsVtqB0RZZK9j1_V68aSMwf
พระปลัดไพฑูรย์ ฐิตโสภโณ (หล้ากาศ).พระครูสิริสุตานุยุต, รศ.ดร.ดร.ธวัชชัย ไชยวุฒิ,การส่งเสริมบทบาท   ด้านสาธารณะสงเคราะห์ตามหลักเชิงพุทธของพระคิลานุปัฏฐาก จังหวัดลำพูน.รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ ๙ เรื่อง  “พุทธวิธี และวิถีครูบา กับการแก้ปัญหาวิกฤต  โลก”  (The Buddhist and Kruba Methods to Solve the World Crisis) วันที่ ๒๕ มีนาคม  ๒๕๖๖.
          https://drive.google.com/drive/folders/1t6XG0LaOsvsVtqB0RZZK9j1_V68aSMwf
พระครูบรรพตขันตยานุยุต (อดิศักดิ์ ขนฺติธโร/ปัญญาหล้า),พระครูสิริสุตานุยุต, รศ.ดร..ดร.ธวัชชชัย ไชยวุฒิ ศึกษาวิเคราะห์บทบาทด้านการศึกษาสงเคราะห์ของพระเทพรัตนนายก (จำรัส ทตฺตสิริ).รายงานการ ประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ ๙ เรื่อง  “พุทธวิธี และวิถีครูบา กับการแก้ปัญหา  วิกฤตโลก”  (The Buddhist and Kruba Methods to Solve the World Crisis) วันที่ ๒๕  มีนาคม ๒๕๖๖.
         https://drive.google.com/drive/folders/1t6XG0LaOsvsVtqB0RZZK9j1_V68aSMwf
พระปลัดไพฑูรย์ ฐิตโสภโณ (หล้ากาศ), พระครูสิริสุตานุยุต, รศ.ดร. ดร.ธวัชชัย ไชยวุฒิ, การส่งเสริม  บทบาทด้านสาธารณะสงเคราะห์ตามหลักเชิงพุทธของพระคิลานุปัฏฐาก จังหวัดลำพูน ).รายงานการ  ประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) ครั้งที่ ๙ เรื่อง  “พุทธวิธี และวิถีครูบา กับการแก้ปัญหา  วิกฤตโลก”  (The Buddhist and Kruba Methods to Solve the World Crisis) วันที่ ๒๕  มีนาคม ๒๕๖๖.
         https://drive.google.com/drive/folders/1t6XG0LaOsvsVtqB0RZZK9j1_V68aSMwf
พระเอกพจน์ เอกวฑฺฒโน, ธวัชชัย ไชยวุฒิ, พระอภิรัตน์ อริยวํโส, กัมปนาท  แก้วนำ และวิไลลักษณ์ อินต๊ะวงค์ คติคำสอนด้านจริยศาสตร์ที่ปรากฏในโอวาทของครูบาเจ้าศรีวิชัย โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ  ครั้งที่ ๑๐ (The 10th National Conference Year 2024 (MCULPN – AC)         เรื่อง “เอกบุรุษล้านนา ครูบาบุคคลสำคัญของโลก” Ekkaburut Lanna The Great Kruba; One of  the World’s”  Great Personalities”  ในวันเสาร์ที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๗
          https://drive.google.com/drive/folders/16uZORiXHetKh0dfKBiD9ITOdb0hz_ZW5
พระธวัชชัย ชยวุฑฺโฒ. “สัมมาทิฎฐิ : พื้นฐานการพัฒนาตนให้สามารถพึ่งตนเองได้”.  Proceeding การประชุมวิชาการพระพุทธศาสนา และศิลปวัฒนธรรมระดับชาติ และนานาชาติ The NATIONALAND INTERNATIONAL CONFERENCE ON BUDDHSM,ARTS & CULTURE (NICBAC,MCU.) เรื่อง“พระพุทธศาสนา : รากฐานการพัฒนาสังคมพหุวัฒนธรรม “Buddhism: The of Multi-Cultural Society Development” วันที่ ๓ กันยายน ๒๕๖๒ ณ สำนักบริหารวิชาการ (UNISERV) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.พระธวัชชัย ชยวุฑฺโฒ. “การศึกษาวิเคราะห์วิธีการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของพระพุทธเจ้า”.การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ ๔ เรื่อง “ศาสตร์พระราชากับการสร้างสังคมอุดมปัญญาในยุคไทยแลนด์ ๔.๐” ณ วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑: ๒๕๒-๒๖๐.

๖.๒ หนังสือ /ตำรา/เอกสาร อื่นๆ
                   
๗. กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา
          – บัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Scroll to Top
วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ภาพรวมความเป็นส่วนตัว

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อให้เราสามารถมอบประสบการณ์ผู้ใช้ที่ดีที่สุดแก่คุณ ข้อมูลคุกกี้จะถูกเก็บไว้ในเบราว์เซอร์ของคุณและทำหน้าที่ต่างๆ เช่น จดจำคุณเมื่อคุณกลับมาที่เว็บไซต์ของเรา และช่วยให้ทีมของเราเข้าใจว่าส่วนใดของเว็บไซต์ที่คุณพบว่าน่าสนใจและมีประโยชน์มากที่สุด